Egyptian Child Preacher Forbids Singing

Following are excerpts from an interview with Egyptian child preacher Muslim Sa’id, which aired on Al-Nas TV on July 2, 2009.

Interviewer: Sheik Muslim, we’ve been discussing the Islamic ruling about singing and music. As we know, the Prophet Muhammad said: “Among my followers, there will be some people who will consider as lawful…”

Muslim Sa’id: … “illegal sexual intercourse, silk, alcohol, and musical instruments.”

Interviewer: Very good. That’s right. Sheik Muslim, we would like you to explain this blessed hadith to us.

Muslim Sa’id: The problem is that not enough things are being done, and that people insist on listening to the forbidden singing, to which many people have become addicted – except a few, upon whom God has taken mercy.

It has gotten to the point that this singing distracts them from many of the religious and worldly matters important to them. This has led to a waste of time and money, to insisting upon sin, and to binding the heart to things other than God.

I do not understand what makes people insist upon this. Do they doubt the ruling that [singing] is forbidden? Or is this a weakness of faith and determination?

My brother, who proclaims that there is no god but Allah, and that Muhammad is the messenger of Allah: what is better – to listen to the All Merciful or to listen to Satan?

Mr. Sa’id, I have a question, which my brothers in elementary school can answer. What is the opposite of “consider as lawful”?

Forbidding, (1) This means that these issues, mentioned in the hadith, are forbidden, (2) but they are permitting them.

Third, they give these things names that are not theirs. This shows that they are changing what these things are called, in order to attract people to them.

Fourth, they call “illegal sexual intercourse” – or adultery – “sex education.”

Fifth, they call wine “spirits.” Sixth, they call the instruments they play “instruments of music and art.” They do this to deceive you – you poor guy, you poor girl.

Let’s use simple language. First of all, singing is composed of three things: melody, lyrics, and a singer.

First: the melody, when this melody accompanies any words – even lyrics that mention God and His Messenger – it is forbidden, with one exception – the use of the tambourine among women.

Second: the words. If the words call for polytheism or heresy, if they glorify the polytheists, the infidels, or false gods, or if they cause sorrow or arouse the urges, this is forbidden.

Third: the singer. If, by means of his style, he encourages feebleness or promiscuity, it is forbidden.

Mr. Sa’id, there are singers who wear necklaces, and make their hair stand on end, as if they are holding live electrical wires.

Interviewer: MashaAllah

คำอรรถาธิบายจากชัยคฺตัวน้อยๆชาวอิยิปต์เรื่อง “เพลงและดนตรีที่หะรอม”

 

เป็นเนื้อหาที่ตัดตอนมาจากบางส่วนของการสัมภาษณ์ที่ออกอากาศทางทีวีอันนาสเมื่อ 2 กรกฎาคม 2009

 

ผู้สัมภาษณ์ : ชัยคฺมุสลิม..เราได้มีการพูดถึงบทบัญญัติของอิสลามเกี่ยวกับการร้องเพลงและดนตรี เท่าที่เราทราบคือท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮฺวะสัลลัมได้กล่าวว่า “แท้จริงแล้วจะมีชนกลุ่มหนึ่งในหมู่ประชาชาติของฉันที่เห็นว่ามันเป็นสิ่งที่หะลาล…”

 

ชัยคฺมุสลิม: นั่นก็คือการทำซินา, (การสวมใส่) ผ้าไหม, การดื่มสุรา และเครื่องเล่นดนตรี (พยายามจะให้สิ่งเหล่านี้เป็นที่อนุมัติตามหลักการของศาสนา)

 

ผู้สัมภาษณ์ : ดีมากถูกต้องแล้วครับ อัลลอฮุอักบัรฺ ชัยคฺมุสลิมเราอยากให้ท่านช่วยอธิบายความหมายของหะดีษนี้ให้ฟังหน่อยได้ไหม?

 

ชัยคฺมุสลิม: ปัญหาก็คือว่ามันไม่มีหลักฐานมากพอที่จะให้กระทำได้ และนั่นก็มีผู้คนที่ยังคงฟังเพลงหะรอม มีผู้คนมากมายที่กลายเป็นคนติดเพลงเหล่านั้นไปแล้ว – ยกเว้นมีเพียงคนไม่กี่คนเท่านั้นที่อัลลอฮฺได้เมตตาต่อเขา

 

ประเด็นก็คือบทเพลงนี้จะคอยรบกวนจิตใจของผู้ฟังทั้งกระทบต่อในเรื่องของศาสนาและเรื่องสำคัญๆสำหรับเขาบนโลกนี้ ทำให้เสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ต่อการทำมะอฺศิยัตและการผูกยึดหัวใจไว้กับสิ่งอื่นมากกว่าอัลลอฮฺ

 

ฉันไม่เข้าใจเลยว่า อะไรที่ทำให้ผู้คนยังคงทำสิ่งนี้อยู่อีก  พวกเขาไม่สงสัยบ้างเลยหรือว่าดนตรีนั้นเป็นที่หะรอม? หรือว่านี่คือสภาพความอ่อนแอของอีหม่าน

 

พี่ๆครับ.. ใครที่กล่าวชะฮาดะฮฺว่าไม่มีพระเจ้าอื่นใดเว้นแต่อัลลอฮฺ และมูหัมมัดเป็นศาสนทูตของพระองค์ อะไรเล่าคือสิ่งที่ดีกว่ากัน – จะเชื่อฟังต่ออัลลอฮฺผู้เปี่ยมไปด้วยความเมตตาหรือว่าจะตามชัยฏอน?

 

ท่านซะอีด ฉันมีคำถามซึ่งพี่น้องของฉันในโรงเรียนประถมศึกษาก็ตอบได้ว่า อะไรคือสิ่งตรงกันข้ามกับ “สิ่งที่ศาสนาอนุมัติ”?   นั่นคือหะรอม (1) ซึ่งหมายความว่าสิ่งนี้ที่กล่าวถึงในหะดีษว่าเป็นสิ่งที่ต้องห้ามนั้น (2) แต่พวกเขากลับเห็นชอบที่จะกระทำ

 

ประการที่สาม พวกเขาตั้งชื่อของสิ่งเหล่านี้เสียใหม่ สิ่งนี้แสดงให้เห็นว่าพวกเขาได้เปลี่ยนชื่อเรียกไปจากเดิมของสิ่งที่เคยถูกเรียก เพื่อที่จะดึงดูดให้ผู้คนหลงใหลไปกับมัน

 

ประการที่สี่ พวกเขาเรียกว่า “การซินา” หรือการผิดประเวณีว่าเป็น “เพศศึกษา”

 

ประการที่ห้า ที่พวกเขาเรียก “น้ำเมา (เหล้า) ที่ได้จากการกลั่น” ว่า “สปิริต” (spirit = อารมณ์หรือความสนุกสนาน)

 

ประการที่หก พวกเขาเรียกสิ่งที่ใช้เพื่อการละเล่นเพื่อความสนุกสนานว่า “เครื่องดนตรีและศิลปะ” พวกเขาทำเช่นนี้เพื่อหลอกลวงคุณ — คุณคนหนุ่มสาวที่น่าสงสารเอ๋ย

 

พูดให้ง่ายขึ้นคือ ในการร้องเพลงนั้นมีองค์ประกอบทั้งหมดสามอย่างด้วยกัน : ท่วงทำนองเพลง เนื้อเพลง และตัวนักร้อง

 

ประการแรกคือทำนอง เมื่อไรที่ท่วงทำนองนี้ได้คลอไปกับเนื้อเพลงใดๆ — แม้กระทั่งเพลงที่กล่าวถึงอัลลอฮฺและร่อซู้ล – ถือเป็นสิ่งที่หะรอม ยกเว้นการใช้เครื่องตีกระทบจังหวะประเภทกลองเล็ก/กลองมือกลมที่ติดลูกพรวนในหมู่ผู้หญิง

 

ประการที่สอง เนื้อเพลง ถ้าเนื้อเพลงมีคำที่เรียกร้องไปสู่การชิรกฺ และการเป็นกุฟรฺ ถ้ามีเนื้อหาที่กล่าวสรรเสริญสิ่งอื่นใดที่นำไปสู่การเป็นมุชรีกีนและมุนาฟิกีน  หรือก่อให้เกิดความเหงาเศร้าสลดหดหู่ หรือปลุกอารมณ์เร่งเร้ามันจะกลายเป็นสิ่งที่หะรอม

 

ประการที่สามคือตัวนักร้อง ถ้าหากว่ารูปแบบต่างๆในสไตล์ของนักร้องมีส่วนสนับสนุนให้ผู้คนอ่อนแอลง หรือมีพฤติกรรมที่สำส่อนกันมากขึ้น ถือว่าหะรอมด้วยเช่นกัน  

 

ท่านซะอีดครับ… มีบรรดานักร้องที่สวมใส่สร้อยคอและพวกเขาได้ทำทรงผมยืนอยู่บนเวทียังกับว่าพวกเขากำลังพันไปด้วยลวดของสายไฟ

 

ผู้สัมภาษณ์ : มาชาอัลลอฮฺ

 

Published in: on November 9, 2011 at 3:44 pm  Leave a Comment  

The Last Station To the Final Destination

By Imam Anwar Al-Awlaki

Assalamu’alaikum Warahmatullah

My dear brothers and sisters,

We, the human race living on this earth, are under the perception that we belong here, and this is our residence and home.

We don’t know or we don’t want to know the fact that we are on a train, and the train is going through stations to another final destination, and that this world is only one of these stops in one of these stations but we do not belong here. We have a ticket that has three slips.

  1. We live in the womb for 9 months and when we come out, one slip is torn out of the ticket.
  2. And then we live in dunya for a while in this station and when we are dying, the second slip from the ticket is torn out.
  3. And then we have one slip left, and that will be torn out either in hell-fire or in jannah (Paradise), and that is the final destination.

We do not belong here. We are traveling. And that’s why Rasululah (PBUH) said

كُنْ فِى الدُّنْيَا كَأَنَّكَ غَرِيبٌ ، أَوْ عَابِرُ سَبِيلٍ

“Be in this world as if you are a traveler” [Hadith from Muslim].

We spend a few moments in this Dunya and then we keep on moving. Can you stop time?

Time is revolving and it’s eroding of our existence. Time, the movement of time is an erosion of our existence in this dunya (world). It is ripping away and tearing apart from our own existence with every second that passes by. It is part of us. We do not belong here and we need to believe in the fact that we do not belong here

and we need to prepare for death.

สถานีสุดท้าย..สู่ปลายทางที่นิรันดร์

อิม่าม อันวา อัลเอาวฺลากีย์

 

อัสลามุอาลัยกุมวะเราะฮฺมาตุลลอฮิ วะบะรอฮฺกาตุฮฺ

พี่น้องที่รักยิ่ง

เราคือเผ่าพันธุ์มนุษย์ที่อาศัยอยู่บนโลกนี้ ที่ต่างก็รับรู้ว่าเรามาอยู่ที่นี่ และนี่คือที่อยู่อาศัยและบ้านของเรา..เราไม่ทราบหรือเราไม่ต้องการที่จะทราบข้อเท็จจริงที่ว่าเราอยู่ในขบวนรถคันหนึ่ง และรถขบวนนี้กำลังพาไปยังสถานีปลายทาง และโลกนี้ก็เป็นเพียงสถานีหนึ่งที่ขบวนรถนี้มาจอดอยู่ แต่เราไม่ได้อยู่ที่นี่ เรามีตั๋วโดยสารอยู่ทั้งหมดสามส่วนคือ

  1. เราอยู่ในครรภ์ของมารดามา 9 เดือนและเมื่อเราถูกคลอดออกมา ตั๋วส่วนที่หนึ่งก็ได้ถูกฉีกออกไป
  2. แล้วเราก็มาพักที่สถานีดุนยานี้แค่ชั่วขณะ และเมื่อตอนเราตายลงตั๋วท่อนที่สองก็จะถูกฉีกออกไป
  3. และเราก็เหลือตั๋วท่อนสุดท้ายและมันจะถูกฉีกออก ณ ที่ใดที่หนึ่งอาจเป็นที่นรกหรือที่สวรรค์ และที่นั่นคือที่สุดท้ายของการเดินทางของเรา

เราไม่ได้อยู่ที่นี่ เรากำลังเดินทาง และด้วยเหตุนี้ท่านเราะซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมกล่าวว่า

كن في الدنيا كأنك غريب ، أو عابر سبيل

“ท่านจงอยู่บนโลกนี้เสมือนกับคนแปลกหน้าหรือไม่ก็คนเดินทาง” (หะดีษมุสลิม)

ท่านเราะซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมยกตัวอย่างความคล้ายคลึง ชีวิตในโลกนี้ เหมือนกับใครบางคนที่กำลังเดินทางอยู่ และเมื่อเขาเห็นต้นไม้ จึงเข้ามาอาศัยร่มเงา และนั่งพักใต้ต้นไม้นั้นแล้วจึงออกเดินทางต่อ นั่นคือดุนยา เหมือนเราพักชั่วครู่ใต้ต้นไม้แล้วเราก็เดินทางต่อ

เราสามารถหยุดเวลาได้ไหม? เวลาที่ผ่านไปเป็นการกัดกร่อนเอาอายุขัยของเราไปด้วย เวลาที่หมุนไปเป็นการพรากชีวิตของเราออกจากโลกนี้ไปเรื่อยๆ เวลากำลังดึงและฉีก (ตั๋ว) ช่วงของการมีชีวิตของเราออกไปจากโลกนี้ในทุกๆวินาที มันเป็นส่วนหนึ่งของเรา เราไม่ได้อยู่ที่นี่ตลอดไปและเราจำเป็นต้องศรัทธาในความจริงที่ว่าเราไม่ได้อยู่ที่นี่

และจำเป็นต้องเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับความตาย

Published in: on November 9, 2011 at 2:59 pm  Leave a Comment